Skip to content

ขับเคลื่อนองค์ความรู้เหนือกว่าชั้นแนวหน้าอย่างไม่หยุดยั้ง เพื่ออุตสาหกรรมสร้างสรรค์

จากยุคแห่งการสร้างผลิตภัณฑ์ สู่การสร้างแบรนด์ จนมาถึงการสร้างธุรกิจด้วย “ความคิดสร้างสรรค์” ถือเป็นความสำเร็จการต่อยอดธุรกิจในยุคปัจจุบัน การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์จึงมิใช่เพียงเพื่อสร้างเครื่องมือ สนับสนุน ทางธุรกิจอีกต่อไป หากแต่เป็นหัวใจ ที่มีผลต่อการสร้างฐานวิธีคิด วิเคราะห์ แยกแยะ และต่อยอดธุรกิจเพื่อให้เกิดการปรับเปลี่ยนรูปแบบ หรือกระบวนการคิดที่สามารถพัฒนาสินค้าและบริการ ผสมผสานภูมิปัญญาและทรัพยากรที่มีอยู่ให้ฉายเอกลักษณ์สู่สากลได้ สมกับวิสัยทัศน์ของวิทยาลัย

สมรรถนะหลักขององค์กร

เพื่อขับเคลื่อนอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ ดังนั้นเพื่อให้การบริหารจัดการที่คล่องตัว ทางวิทยาลัยนำเสนอโครงสร้างการบริหารจัดการดังนี้

ส่วนบริหารงานคณบดี
ภาควิชาธุรกิจสร้างสรรค์
ภาควิชาแฟชั่น สิ่งทอ และเครื่องตกแต่ง
ภาควิชาอุตสาหกรรมเครื่องประดับ และผลิตภัณฑ์สร้างสรรค์

ผู้บริหาร

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ขจีพร วงศ์ปรีดี

ดร.พองาม วีรุตมเสน

ผู้ช่วยศาสตราจารย์
ดร.ดวงแข บุตรกุล

ดร.กรกลด คำสุข

ผู้ช่วยศาสตราจารย์
ดร.อมรมาศ กีรติสิน

ดร.กิติศักดิ์ ตั้งใจดี

คณาจารย์

ภาควิชาธุรกิจสร้างสรรค์

• ศูนย์อุตสาหกรรมสร้างสรรค์ประเทศไทย (KiTHAI)
• หลักสูตรการจัดการอุตสาหกรรมและนวัตกรรม (ปริญญาโท)
• หลักสูตรการจัดการแบรนด์สร้างสรรค์ (ปริญญาโท)

ดร.พองาม วีรุตมเสน

ความเชี่ยวชาญ:
• การวางแผนเชิงกลยุทธ
• การบริหารและการจัดการความเป็นผู้ประกอบการ
• การบริหารและการวางกลยุทธในการสร้างแบรนด์
• การพัฒนาทรัพยากรบุคคล

Dr.Navidreza Ahadi

ความเชี่ยวชาญ:
• การบริหารและการจัดการธุรกิจ
• งานวิจัยและที่ปรึกษาเชิงธุรกิจ
• การบริหารจัดการระหว่างวัฒนธรรม
• การพัฒนาความเป็นผู้ประกอบการ
คณาจารย์ผู้ช่วยสอนในหลักสูตร

ผู้ช่วยศาสตราจารย์
ดร.ขจีพร วงศ์ปรีดี

ความเชี่ยวชาญ:
• วัสดุศาสตร์
• การบริหารและการจัดการนวัตกรรม
• อุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับ
• การบริหารและการจัดการความเป็นผู้ประกอบการ

ผู้ช่วยศาสตราจารย์
ดร.ดวงแข บุตรกูล

ความเชี่ยวชาญ:
• การปรับปรุงคุณภาพพลอยธรรมชาติด้วยพลาสมาและลำอนุภาค
• การสังเคราะห์วัสดุคอมโพสิตเพื่องานโครงสร้าง
• การสังเคราะห์วัสดุเพื่อเลียนแบบพลอยธรรมชาติ
• การสังเคราะห์ฟิล์มบาง
• การวิเคราะห์สมบัติเชิงแสงของวัสดุ

รองศาสตราจารย์
ดร.ถนัด จินตโกศล

ความเชี่ยวชาญ:
• วัสดุนาโน
• วัสดุเชิงประกอบ
• การขึ้นรูปตัวเรือนเครื่องประดับ

ดร.สิทธิพงศ์ วงศ์ไชยสุวรรณ

ความเชี่ยวชาญ:
• การออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์และทฤษฎีการออกแบบ
• การผลิตและระบบการผลิต

คณาจารย์

ภาควิชาแฟชั่น

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.รวิเทพ มุสิกะปาน

ความเชี่ยวชาญ:
• แฟชั่น สิ่งทอ และเครื่องตกแต่ง
• ศิลปะและนวัตกรรมการออกแบบ
• ศิลปะวัฒนธรรม

ดร.กรกลด คำสุข

ความเชี่ยวชาญ:
• การออกแบบแฟชั่น
• กระบวนการผลิตเครื่องแต่งกาย
• ผลิตภัณฑ์สิ่งทอ

ผู้ช่วยศาสตรจารย์
ดร.นัดดาวดี บุญญะเดโช

ความเชี่ยวชาญ:
• เครื่องตกแต่งแฟชั่น
• ออกแบบอัตลักษณ์องค์กร และสื่อสิ่งพิมพ์
• การตลาดและการสร้างสรรค์ภาพลักษณ์

ดร.วรฐ ทรัพย์ศรีสัญจัย

ความเชี่ยวชาญ:
• การสอนด้านการออกแบบแฟชั่น
• การออกแบบลวดลายผ้า
• ธุรกิจแฟชั่น
• การสร้างแบรนด์แฟชั่น

ผู้ช่วยศาสตราจารย์
ดร.อรัญ วานิชกร

ความเชี่ยวชาญ:
• การวิจัยสร้างสรรค์
• ทักษะทัศนศิลป์และการสเก็ตซ์ ระบายสีน้ำ
• คอมพิวเตอร์กราฟิก 2 มิติ และ 3 มิติ
• การออกแบบนิทรรศการ
• การออกแบบผลิตภัณฑ์ตกแต่ง
• การออกแบบแม่พิมพ์เซรามิก
• การออกแบบเฟอร์นิเจอร์
• การออกแบบตกแต่งภายใน

ดร.กนกวรรณ ใจหาญ

ความเชี่ยวชาญ:
• การออกแบบแฟชั่น
ionicons-v5-kView CV

email: kanakwan@g.swu.ac.th

อาจารย์ภทรฤน พงษ์ประสิทธิ์

ความเชี่ยวชาญ:
• การออกแบบแฟชั่น
• จิตวิทยาแฟชั่น

อาจารย์แพรวา รุจิณรงค์

ความเชี่ยวชาญ:
• การออกแบบสิ่งทอ
• ภูมิปัญญาการทอผ้าไทย

คณาจารย์

ภาควิชาอุตสาหกรรมเครื่องประดับ และผลิตภัณฑ์สร้างสรรค์

ผู้ช่วยศาสตราจารย์
ดร.ขจีพร วงศ์ปรีดี

ความเชี่ยวชาญ:
• วัสดุศาสตร์
• การบริหารและการจัดการนวัตกรรม
• อุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับ
• การบริหารและการจัดการความเป็นผู้ประกอบการ

ผู้ช่วยศาสตราจารย์
ดร.ดวงแข บุตรกูล

ความเชี่ยวชาญ:
ความเชี่ยวชาญ:
• การปรับปรุงคุณภาพพลอยธรรมชาติด้วยพลาสมาและลำอนุภาค
• การสังเคราะห์วัสดุคอมโพสิตเพื่องานโครงสร้าง
• การสังเคราะห์วัสดุเพื่อเลียนแบบพลอยธรรมชาติ
• การสังเคราะห์ฟิล์มบาง
• การวิเคราะห์สมบัติเชิงแสงของวัสดุ

ผู้ช่วยศาสตราจารย์
ดร.อมรมาศ กีรติสิน

ความเชี่ยวชาญ:
• อัญมณีศาสตร์
• แร่วิทยา
• ผลึกศาสตร์

ดร.บงกช พิชัยกำจรวุฒิ

ความเชี่ยวชาญ:
• อัญมณีศาสตร์
• แร่วิทยา
• สเปคโตรสโคปี – เทคนิคที่เกี่ยวข้องกับแสง

ดร.พสุ เรืองปัญญาโรจน์

ความเชี่ยวชาญ:
• ออกแบบเครื่องประดับ
• เครื่องประดับจลนศาสตร์
• การออกแบบการทดลอง
• โปรแกรม 3 มิติ
• การพิมพ์ 3 มิติ
• การประกวดการออกแบบ

รองศาสตราจารย์ ดร.ถนัด จินตโกศล

ความเชี่ยวชาญ:
• วัสดุนาโน
• วัสดุดูดซับ
• การขึ้นรูปตัวเรือนเครื่องประดับ

ดร.สิทธิพงศ์ วงศ์ไชยสุวรรณ

ความเชี่ยวชาญ:
• การออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์และทฤษฎีการออกแบบ
• การผลิตและระบบการผลิต

ดร.กิติศักดิ์ ตั้งใจดี

ความเชี่ยวชาญ:
• การผลิตแบบรวม
• การจัดการข้อมูล
• การตรวจสอบและควบคุมการผลิต

การจัดการวิทยาลัย

บุคลากรวิทยาลัยอุตสาหกรรมสร้างสรรค์

นางสาวพิลาสลักษณ์ ลือเลิศ

นางสาวหทัยพันธน์ ชูชื่น

นักวิชาการศึกษา

นางสาวปิยมาภรณ์ ภูหนองโอง

นักวิชาการศึกษา

นายสิริวัชร ตรีสุวรรณ์

ผู้ปฏิบัติงานช่าง

นางสาวเจือจันทร์ ฤทธิบัณฑิตย์

ผู้ปฏิบัติงานทั่วไป

นายศตวรรษ มณฑา

นักจัดการงานทั่วไป

นางอลิสา สารทสมัย

นักวิชาการพัสดุ